โศกนาฎกรรมแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่เกิดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2568 เป็นผลพวงมาจากรอยเลื่อนสะกายชยับ ซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่เมืองมัณฑะเลย์ประเทศเมียนมา ทำให้เกิดแผ่นดินไหวขนาดรุนแรงที่สุดในรอบ 95 ปี หรือระดับที่ 7.7 แมกนิจูด และยังตามมาด้วยอาฟเตอร์ช็อกอีกหลายครั้งในเวลาต่อมา
ทั้งนี้ จำนวนผู้เสียชีวิตในเมียนจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งนี้ทำยอดพุ่งสูงเกิน 2,000 คน ส่วนผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 3,900 คน และยังมีผู้สูญหายอีกจำนวนมาก (อัปเดทล่าสุดเมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2568)
อย่างไรก็ตาม นอกเหนือไปจาก รอยเลื่อนสะกาย (Sagaing Fault) ในเมียนมา ซึ่งนับว่าเป็นรอยเลื่อนที่มีความเสี่ยงสูง และมีศักยภาพรุนแรงที่ทำให้เกิดภัยพิบัติครั้งใหญ่ระดับโลกแล้ว ยังมีรอยเลื่อนอื่นๆ ในหลายประเทศ ที่ถือว่ามีอานุภาพร้ายแรงจนถูกบันทึกไว้ในหน้าประวัติศาสตร์ ไปดูกันเลยว่ามีที่ไหนบ้าง...
ทั้งสองเหตุการณ์แผ่นดินไหวนี้ เป็นการเกิดแผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของรอยเลื่อน San Andreas นอกเหนือจากนี้ ยังมีแผ่นดินไหวขนาดเล็กที่เกิดขึ้นบ่อยๆ ในบริเวณนี้ โดยรอยเลื่อนดังกล่าวจะมีการเคลื่อนตัวระหว่างแผ่นแปซิฟิกและแผ่นอเมริกาเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่บริเวณใต้ที่เมืองลอสแอนเจลิส ซึ่งมีความเสี่ยงสูงในการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอนาคต
สำหรับเหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่จากรอยเลื่อนฮอกไกโด เช่น
อย่างไรก็ตาม การเกิดแผ่นดินไหวในบริเวณนี้มีความถี่บ่อยและความรุนแรงสูง เนื่องจากญี่ปุ่นตั้งอยู่บนวงแหวนแห่งไฟ (Ring of Fire) ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกหลายแผ่น การเกิดแผ่นดินไหวในญี่ปุ่นจึงถือเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และอาจเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ในอนาคตได้อยู่เสมอ
สำหรับการเกิดแผ่นดินไหวครั้งสำคัญจากการขยับตัวของรอยเลื่อนนาสกา เช่น
เมื่อตลาดแรงงานไม่ให้โอกาสเด็กจบใหม่ เพียงเพราะต้องการคนที่มีประสบการณ์ แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าเด็กจบใหม่ไม่มีประสบการณ์ ?
ในวงการโทรทัศน์ ชื่อของ หลา-อกนิษฐ์ มาโนษยวงศ์ คือผู้อยู่เบื้องหลังที่ผลิตรายการเตือนภัยสังคมแบบเจาะลึกอย่าง “เรื่องจริงผ่านจอ” ซึ่งออกอากาศมายาวนานถึง 24 ปี ปัจจุบันเขายังเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท สาระดี จำกัด บริษัทในเครือของบริษัท กันตนา จำกัด (มหาชน) จากการทำงานมาอย่างยาวนานในฐานะโปรดิวเซอร์ที่ต้องครีเอทและผลิตคอนเทนต์เพื่อดึงดูดผู้ชม ซึ่งปัจจุบัน สื่อออนไลน์มาแรงแซงหน้าทุกแพลตฟอร์ม จนทำให้สื่อดั้งเดิมอย่างโทรทัศน์ต้องปรับตัวขนานใหญ่ เรามีโอกาสได้พูดคุยกับ อกนิษฐ์ เมื่อครั้งที่เขามารับโล่รางวัลในฐานะศิษย์เก่าดีเด่น ด้านความสำเร็จในอาชีพ/หน้าที่การงาน ประจำปี 2567 คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และได้มาแชร์ถึงวิธีปรับตัวในฐานะโปรดิวเซอร์ และการรับมือกับโลกของสื่อที่เปลี่ยนไปในทุกขณะ
บันทึกแห่งตำนาน เรื่องราวเล่าขานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หลังอายุครบ 6 ทศวรรษ